Page 11 - รายงานวิธีการและผลการดำเนินงานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) ประจำปีการศึกษา2559
P. 11

10


                  ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ (Strategic Context)

                        ลักษณะความท้าทายเชิงกลยุทธ์ที่ส าคัญของโรงเรียนชุมแพศึกษา จ าแนกเป็นด้านการจัดการเรียนรู้


               ด้านบุคคล  และด้านความรับผิดชอบต่อสังคม  รายละเอียด ดังนี้
                   ด้าน              ความท้าทายเชิงกลยุทธ์                    ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์
               การจัดการ    - ผลสัมฤทธิ์ 5 กลุ่มวิชาหลัก ไม่ผ่านเกณฑ์   - สพฐ.มีนโยบายขับเคลื่อนคุณภาพต่อเนื่อง
               เรียนรู้     - ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังไม่เพียงพอ   -จัดหลักสูตรที่หลากหลาย/มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย

                            -อาคารเรียน ห้องเรียน และห้องเรียนคุณภาพไม่เพียงพอ  -มีการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
               บุคลากร      - อายุเฉลี่ยของบุคลากรในเกณฑ์ผู้สูงวัย   -จัดอบรมครูเป็นประจ าทั้งภายในและภายนอกองค์กร
                                                                  - มีการก าหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากร
                                                                  -สรรหาครูอัตราจ้างที่มีคุณภาพ / เสริมสร้างขวัญและก าลังใจ
                                                                  -ครูปฏิบัติหน้าที่ตรงกับคุณวุฒิและความสามารถ
               สังคม        - สื่อเทคโนโลยีมีทั้งประโยชน์และโทษ   - เป็นสถานศึกษายอดนิยม
                            - มีสิ่งแวดล้อมที่มีสื่อยั่วยุ ท าให้นักเรียนมีความเสี่ยง   -ชุมชนและผู้ปกครอง มีความสนใจและเห็นความส าคัญของ
                            -นักเรียนฟุ่มเฟือย จากฐานะทางเศรษฐกิจของผู้ปกครอง  การศึกษา มีทัศนคติที่ดีต่อโรงเรียน
                                                                  -บริการสถานที่และสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ให้แก่บุคคลทั่วไป
                            ความท้าทายกลยุทธ์ คือ ผลคะแนน O-NET ระดับจังหวัดขอนแก่น   คู่แข่งขัน คือ โรงเรียนบ้านไผ่


                  ค. ระบบการปรับปรุงผลการด าเนินการ (Performance lmprovement System)
                     วิธีการและแนวทางส าคัญที่โรงเรียนใช้ในการปรับปรุงผลการด าเนินการและกระบวนการเรียนรู้

               กระบวนการส าคัญๆ ของโรงเรียน โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโรงเรียน และยึดหลักการบริหารจัดการ

               คุณภาพ ตามวงจรเดมมิ่ง(Deming  Cycle  :  PDCA)   เป็นการตรวจสอบและทบทวนผลการด าเนินงานอย่าง

               ต่อเนื่อง น าผลจากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเผยแพรให้บุคลากร ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชนและ
               องค์กรที่เกี่ยวข้องได้รับทราบ เพื่อให้มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รู้ความเคลื่อนไหวและผลการบริหารจัดการการศึกษา

               ของโรงเรียน และน าผลการประเมินไปค้นหาสาเหตุที่ท าให้ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ก าหนด

               จากนั้นฝ่ายบริหารในสถานศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนพัฒนาให้มีการด าเนินงานบรรลุเป้าหมายที่

               ก าหนดไว้ในแต่ปีการศึกษา  การด าเนินงานภายใต้กรอบ PDCA  เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีการปรับปรุง
               กระบวนการท างานด้วยนวัตกรรม SMART  Model  ตั้งแต่ปีการศึกษา 2557 เพื่อให้การด าเนินงานตาม SMART

               Model  บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของโรงเรียน และในการด าเนินงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ดังแสดง

               ตามภาพที่ 1.1 ก(1)-1
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16